Lean คืออะไร
Lean คือกระบวนการผลิตที่มุงลดความสูญเปลาจากการใชทรพยากรที่ไมไดสรางมูลคาเพิ่มใหกับ
สินคาและรวมถึงแนวทางการปรับปรุงกระบวนการอยางตอเนื่องด้วยการลงทุนในทรัพยากรมนุษย
(Human capital) โดยไมเนนการลงทุนในเทคโนโลยีชั้นสูง แตมุงการปรับปรุงโดยมีตัวพนักงานเปนตัวขับเคลื่อนที่สําคัญและสอดคล้องกับปรัชญาคุณภาพ อยาง TQM โดยการพัฒนา
1. การมุงขจัดความสูญเปลา ลดความสูญเปลาดวยการวิเคราะหสาเหตุหลัก (Root cause analysis) และหาแนวทางปรับปรุง ซึ่งจะทําใหเกิดการลดตนทุนและรอบเวลาการผลิต สั้นลง สรางความพึงพอใจแกลูกคา ซึ่งความสูญเปลาจําแนกไดดังนี้
o การผลิตมากเกินไป (Overproduction)
o การรอคอย (Waiting)
o ความสูญเปล่าจากการขนสง (Transportation)
o กระบวนการที่ไรประสิทธิผล (Non-Value Added Processing)
o การจัดเก็บสินคาคงคลังไมเหมาะสม (Excess Inventory)
o การผลิตของเสีย (Defects)
o ความสูญเปลาจากการเคลื่อนไหว (Excess Motion)
o การใชประโยชนจากทรัพยากรไม่เต็มกําลัง (Underutilized Resources)
2. การมุงเนนคุณคา โดยนิยามมูลคาจากลูกคาเปนหลักคือต้องทำการวิเคราะห กระบวนการอยางเปนระบบ เพื่อระบุกิจกรรมที่ เกี่ยวของกับการผลิต หรือการใหบริการ และจําแนกระหวางกิจกรรมที่สรางมูลคาเพิ่ม กับกิจกรรมที่เกิดความสูญเปลา หรือ ไมไดสรางมูลคาในมุมมองของลูกคา
3. การปรับปรุงอยางตอเนื่อง เพื่อความสำเร็จที่ยั่งยืนขององคกรต้องดำเนินการปรับปรุง อยางตอเนื่อง เชนการปรับปรุงสถานที่ทำงาน กระบวนการ การให้บริการลูกคา
4. การมุงเนนการตอบสนองความต้องการของลูกคา มุงผลิตสินคา และการให้บริการที่ สอดคล้องกับขอกําหนดของลูกคา โดยยึดหลักคําถามดังนี้
o ความต้องการของลูกคาที่แทจริงคืออะไร
o ลูกคาต้องการสินคา/บริการเมื่อไหร
o จะใหสงมอบเมื่อใด
o ระดับราคาเท่าใดที่เหมาะสมและแขงขันได
o ปริมาณและรูปแบบความหลากหลายที่ต้องการ
5. การมุงเนนความสมบูรณ (Perfection) ดวยการขจัดความสูญเปลาอยางเปนระบบ (Systematic elimination) เพื่อลดต้นทุนและสรางมูลค่าสุงสุด (Maximum value) ใหกับ ลูกคา
Lean มีแนวคิด อยางไร
แนวคิดการผลิตแบบลีนมุงปรับปรุงประสิทธิผลการดําเนินงานดวยการสรางใหเกิดการไหล ของงาน ตลอดทั้งกระบวนการอยางต่อเนื่อง โดยตองระบุจำแนกความสูญเปลาที่เกิดขึ้นใน สายการผลิตเพื่อขจัดความสูญเปลาและเพิ่มผลิตภาพ หลักการและแนวคิดแบบลีน สรุปไวเปนหัวข้อดังนี้ (The fifth principles)
1. บงชี้คุณคา (Value) จากมุมมองของลูกคาคนสุดทาย
2. ระบุขั้นตอนในกระบวนการสรางสายธารคุณคา (Value Stream)
3. ทําใหขั้นตอนทั้งหมดสรางคุณคา (Flow) ตอเนื่องไปยังลูกคา
4. ปลอยใหลูกค้าดึง (Pull) คุณคาจากกิจกรรมที่อยูก่อนหน้า
5. ติดตามเพื่อความสมบูรณแบบ (Perfection)
สามารถนำ Lean ไปใช้แกปญหาไดอยางไรบาง
เราสามารถประยุกตแนวคิดลีนกับการแกปญหาสายการผลิต นํามาปรับปรุงความยืดหยุน ของกระบวนการ ลดความสูญเสียสําหรับงานสำนักงาน และยังสามารถประยุกตแนวคิดลีนกับ โครงการพัฒนาซอฟตแวร์ได้อีกดวย
1.1 ประยุกตแนวคิดลีนกับการแกปญหาสายการผลิต โดยขจัดความสูญเสียตางๆ เชน
o ความสูญเสียจากการจัดเก็บ (Space losses)
o ความสูญเสียทางเวลาสรางผลผลิต (Throughput times)
o เกิดสต็อกงานระหวางกระบวนการ (WIP inventory)
o การเกิดของเสีย (Defects)
o การขัดจังหวะของงาน (Distributions)
o การขาดความยืดหยุน มีกระบวนการทำอย่างไร และได้ประโยชน์อยางไรบ้าง
1.2 ประยุกต์แนวคิดลีนกับการแก้ปัญหาสายการผลิต ผลจากความสูญเสียการ ขาดความยืดหยุน ซึ่งเปนผลลัพธ์จากปัญหาที่กลาวมาขางตน จึงต้องดําเนินการปรับปรุงเพื่อลดความสูญเปล่าตามแนวคิดแบบลีนดังนี้
1.2.1. การขจัดปญหาการตั้งเครื่องมีขั้นตอนดังนี้
1.2.1.1 การจัดทําใหเปนมาตรฐาน (Standardization)
1.2.1.2 จัดเตรียมเครื่องมือสําหรับการตั้งเครื่องซึ่งจําแนกไดดังนี้
A. การออกแบบผลิตภัณฑและวิธีการเพื่อปรับลดการตั้งเครื่องรวมทั้ง อุปกรณจับยึดใหมีขนาดหรือมาตรฐานเดียวกัน
B. การปรับปรุงวิธีการตั้งเครื่องให้มีรูปแบบงาย (Simplified) สามารถทํา ใหลดขนาดรุ่นการผลิตและสงผลใหเกิดความยืดหยุนตอการใช ทรัพยากร
1.3 วิเคราะห์ขั้นตอนการตั้งเครื่อง
1.4 ปรับเปลี่ยนขั้นตอนหรือวิธีการตั้งเครื่องภายในใหเปนขั้นตอนการตั้งเครื่องภายนอก
1.5 ปรับปรุงขั้นตอนทั้งหมดเพื่อใหมีขนาดรุ่นการผลิตที่เล็กลง
1.6 ใชระบบอัตโนมัติ ประโยช์นจากการปรับปรุงตั้งเครื่องคือ
o การขจัดเวลาการตรวจสอบ (Eliminate inspection time) และลดตนทุนจากการเกิดของเสีย
o ขจัดความลาชาจากการตั้งเครื่อง (Eliminate setup delays)
o ประหยัดตนทุนแรงงานสำหรับการตั้งเครื่อง (Save setup labor costs)
2. การผลิตแบบไหลทีละชิ้น หากการปรับปรุงสามารถลดขั้นตอนและเวลาการตั้ง เครื่องได้อย่างมีประสิทธิผลก็จะสงผลให้ชิ้นงานหรือผลิตผลเกิดการผลิตแบบ One-piece flow ในกระบวนการใหมีการไหลอยางตอเนื่อง และเปน องคประกอบหลักของการผลิตแบบหลากหลาย โดยต้องมุงเนนขจัดความสูญ เปลาจากกิจกรรมที่ไมสรางมูลคาเพิ่ม ประโยชนที่ไดรับคือ
o เกิดการปรับปรุงทางคุณภาพไดดวยการตรวจจับและแกปญหาที่ เกิดขึ้นในสายการผลิตไดในเวลาอันรวดเร็ว
o สามารถลดความสิ้นเปลืองจากอุปกรณขนถาย การประหยัด แรงงาน และพื้นที่สําหรับการจัดวาง
o กอใหเกิดความพึงพอจในงาน (Job satisfaction) ทั้งการจูงใจให เกิดการปรับปรุงอยางต่อเนื่อง
3. การผลิตแบบเซลล์ (Cellular manufacturing) เปนการจัดวางเครื่องจักรหรือ สถานีทํางานใหเปนรูปตัวยู (U-Shape) เพื่อใหการไหลของงานเป็นไปอยาง ตอเนื่องและลดความล่าชาโดยมีรูปแบบของสายการผลิตที่มีประโยชนดังนี้
3.1 การจัดวางเครื่องจักรประเภทตางๆ และแรงงานในรูปของเซลลการผลิต โดยมุงการไหลทีละชิ้น เพื่อลดเวลาการรอคอย
3.2 เกิดรูปแบบการผลิตที่หลากหลาย (High-Variety Production) ผลิตตามอุปสงคของลูกคา/ตลาด มีการจัดกลุมผลิตภัณฑ์ ในรูปของเทคโนโลยีกลุ่ม (Group Technology) หรือการผลิตตามกลุมชิ้นงาน (Part family manufacturing) เพือสร้างความยืดหยุนต่อการตอบสนองความต้องการที่ หลากหลายของลูกคา และลดเวลาการตั้งเครื่อง
3.3 การผลิตแบบเซลลสามารถลดตนทุนจากความลาชาของการขนถาย การ ลดของเสียในสายการผลิต ชวงเวลานําที่สั้นลง การประหยัดพื้นที่และ ตนทุนสําหรับการจัดเก็บสต็อก ทําใหสรางมูลคาเพิ่มแกองคกร รวมทั้ง ยกระดับความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจ
3.4 ดําเนินการแกปญหาไดอยางรวดเร็ว เมื่อการดำเนินการมีการประสานงาน อยางใกล้ชิดทาใหจําแนกปัญหาและดำเนินการแกปญหาที่เกิดขึ้นขณะ ปฏิบัติงาน
4. การปรับปริมาณการผลิต การผลิตผลิตแตละรุนที่มีปริมาณมากจะสงผลใหเกิด ระดับของสินคาคงคลังและความสูญเปล่าจากพื้นที่การผลิต การปรับปริมาณ การผลิตแตละรุนใหเล็กลงโดยการดําเนินการใหเสร็จสิ้นในชวงเวลาที่กําหนด จะเปนการขจัดความสูญเสียจากการจัดเก็บวัสดุในปริมาณมาก มุงการผลิต ตามความตองการของลูกค้าซึ่งเป็นการผลิตแบบดึง โดยมีกลไกการควบคุม หรือคัมบัง และเปนสารสนเทศการผลิตสำหรับเชื่อมโยงระหวางหนวยผลิต ทําใหทราบสถานะความต้องการชิ้นงาน ซึ่งแตกต่างจากการผลิตตามการพยากร ประโยชนที่ไดรับจากการลดความสูญเสียในรูปของการขจัดเวลาที่ไมสราง มูลคาเพิ่ม และเกิดการลดต้นทุนรวมทั้งปรับปรุงรอบเวลาการผลิต
5. การบํารุงรักษาเครื่องจักรกับผลิตภาพกระบวนการเกิดความสูญเปล่าจาก เครื่องจักรในสายการผลิตขัดของ (Breaks down) ต้องมีการบํารุงรักษาเชิงรุก (Proactive equipment maintenance) เพราะเปนปัจจยสำคัญตอการปองกัน การสูญเสียในสายการผลิต มีการดําเนินการดังนี้
5.1 ใหการฝกอบรมแรงงาน หรือผูควบคุมเครื่อง
5.2 จัดตั้งทีมงานในสายการผลิตซึ่งประกอบดวยชางบํารุงรักษา และพนักงาน ฝายผลิต
5.3 ใหแรงงานสามารถรับผิดชอบดูแลงานบำรุงรักษาประจําวัน
5.4 ใชการบํารุงรักษาเชิงคาดการณ (Predictive maintenance)
6. หลักการควบคุมดวยสายตา (Visual control) เปนวิธีการควบคุมการทํางาน ดวยการนําเสนอข้อมูลใหง่ายตอการเขาใจ โดยแปลงขอมูลและนําเสนอใน รูปแบบตางๆ ที่เห็นชัดและเขาใจงาย เช่น ตาราง สัญลักษณแผนภูมิเปนตน ประโยชนก็คือจะบ่งชี้ปญหาความขัดข้องจากเครื่องจักรหรือการเกิดของเสียใน สายการผลิต เพื่อให้หัวหน้างานหรือผูเกี่ยวข้องไดรับทราบและดําเนินการ แกไข และยังแจงต่อพนัก งานสําหรับการจัดเตรียมงานต่อไปไดอีก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น