กระบวนการบริหารจัดการ (Management Process )
กระบวนการบริหารจัดการ (Management Process)
โดยพระยุทธศักดิ์ สิริจนฺโท

การบริหารจัดการเป็นการกำหนดทิศทางของหน่วยงาน กลุ่มงาน หรือการดำเนินงานในหน้าที่ต่างๆ ให้ใช้ทรัพยากรทั้งหลายที่มีอยู่ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) ครอบคลุมถึง การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาด เหมาะสมและคุ้มค่า (Cost-effective) ส่วนการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right decision) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าบทบาทสำคัญของผู้บริหารคือการนำพาองค์การไปให้ถึง เป้าหมายและบรรลุผลสำเร็จได้โดยส่วนรวม เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์การ ผู้บริหารมีหน้าที่รวบรวมและจัดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลควบคู่กัน โดยใช้กระบวนการบริหารจัดการที่ดี
กระบวนการบริหารจัดการ เป็นกลไกและตัวประสานที่สำคัญที่สุดในการประมวล ผลักดัน และกำกับให้ปัจจัยต่างๆที่เป็นทรัพยากรการจัดการประเภทต่างๆ สามารถดำเนินไปได้โดยมีประสิทธิภาพ จนบรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ การเข้าใจถึงกระบวนการบริหารจัดการและการฝึกฝนให้มีทักษะสูงขึ้น จะช่วยให้การบริหารงานมีประสิทธิ ภาพมากขึ้นได้ กิจกรรมพื้นฐาน ๔ ระการที่ทำให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการ มีดังนี้
๑) การวางแผน (Planning) หมายถึงกระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย แผนงาน และตัดสินใจหาวิธีการที่ดีที่สุดที่ทำให้เป้าหมายนั้นบรรลุผลสำเร็จ
๒) การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึงกระบวนการในการจัดตั้งและจัดวางทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรที่ไม่ใช่บุคคล โดยวางแผนให้สามารถบรรลุผลสำเร็จขององค์การ
๓) การนำและสั่งการ (Leading and Directing) หมายถึง กระบวนการของการมีอิทธิพล เหนือบุคคลอื่นในการที่จะให้บุคคลอื่นมีพฤติกรรมในการทำงานที่ต้องการ และทำให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
๔) การควบคุม (Controlling) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดกิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป้าหมายที่องค์การคาดหวัง และกำหนดไว้
1. หลักการบริหาร (Management Principle) ได้วางหลักพื้นฐานทางการบริหารไว้ ๑๔ ประการ
2. การแบ่งงานกันทำ (Division of work) การแบ่งงานกันทาจะทาให้คนเกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง (Specialization) อันเป็นหลักการใช้ประโยชน์ของคนและกลุ่มคน ให้ทางานเกิดประโยชน์สูงสุด
3.อำนาจหน้าที่ (Authority) เป็นเครื่องมือที่จะทาให้ผู้บริหารมีสิทธิที่จะสั่งให้ผู้อื่นปฏิบัติงานที่ต้องการได้โดยจะมีความรับผิดชอบ (Responsibility) เกิดขึ้นตามมาด้วย ซึ่งจะมีความสมดุลย์ซึ่งกันและกัน
4. ความมีระเบียบวินัย (Discipline) บุคคลในองค์การจะต้องเคารพเชื่อฟัง และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ กติกาและข้อบังคับต่าง ๆ ที่องค์การกำหนดไว้ ความมีระเบียบวินัยจะมาจากความเป็นผู้นำที่ดี
5. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) ในการทางานใต้บังคับบัญชาควรได้รับคาสั่งจากผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียวเท่านั้น ไม่เช่นนั้นจะเกิดการโต้แย้งสับสน
เอกภาพในการสั่งการ (Unity of Direction) ควรอยู่ภายใต้การจัดการหรือการสั่งการโดยผู้บังคับบัญชาคนหนึ่งคนใด
ผลประโยชน์ขององค์การมาก่อนผลประโยชน์ส่วนบุคคล (Subordinatation ofindividual interest to the general interest)
1.คำนึงถึงผลประโยชน์ขององค์การเป็นอันดับแรกผลตอบแทนที่ได้รับ (Remuneration of Personnel) ต้องยุติธรรม และเกิดความพึงพอใจทั้งสองฝ่าย
2.การรวมอำนาจ (Centralization) ควรรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลางเพื่อให้สามารถควบคุมได้
สายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) การติดต่อสื่อสารควรเป็นไปตามสายงานความมีระเบียบเรียบร้อย (Order) ผู้บริหารต้องกำหนดลักษณะและขอบเขตของงานเพื่อประสิทธิภาพในการจัดระเบียบการทำงาน
3.ความเสมอภาค (Equity) ยุติธรรม และความเป็นกันเอง เพื่อให้เกิดความจงรักภักดี
ความมั่นคงในการทำงาน (Stability of Tenture of Personnel) การหมุนเวียนคนงานตลอดจนการเรียนรู้ และความมั่นคงในการจ้างงาน
4.ความคิดริเริ่ม (Initiative) เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น ให้แสดงออกถึงความคิดริเริ่ม
5.ความสามัคคี (Esprit de Corps) หลีกเลี่ยงการแบ่งพรรคแบ่งพวกในองค์การ
สามารถสรุปเป็นหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการจัดองค์กร เพื่อใช้เป็นแนวทางในศึกษาวิเคราะห์เทียบเคียงกับ พุทธวิธีการจัดองค์กรคณะสงฆ์ของพระพุทธเจ้าในสมัยพุทธกาลได้ ๕ ประการ คือ
๑. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective) หมายถึง การกำหนดเป้าหมายในการทำงานภายในองค์กร
๒. หลักการแบ่งงานกันทำ (Divide of work) หมายถึง การแบ่งแยกกิจกรรมภายใน
องค์กรออกเป็นลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้มีการทำงานร่วมกัน
๓. หลักการมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Delegation of Authorityand Responsibility) หมายถึง การกระจายอำนาจหน้าที่ไปยังส่วนต่าง ๆ ขององค์กรเพื่อให้เกิดการทำงานที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๔. หลักการจัดสายการบังคับบัญชาและช่วงของการบังคับบัญชา (Command and Span of control) หมายถึง ลำดับขั้นของสายงานที่มีการมอบอำนาจหน้าที่ไปยังส่วนต่าง ๆ ขององค์กรและขนาดการควบคุมของผู้บังคับบัญชาแต่ละคน
๕. หลักการประสานงาน (Coordination) หมายถึง การติดต่อสื่อสารในองค์กรอันจะก่อให้เกิดความเข้าใจในจุดมุ่งหมายและวิธีการดำเนินงานในองค์กร ซึ่งจะทำให้การทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ธรรมรัตโดยพระยุทธศักดิ์ สิริจนฺโท

การบริหารจัดการเป็นการกำหนดทิศทางของหน่วยงาน กลุ่มงาน หรือการดำเนินงานในหน้าที่ต่างๆ ให้ใช้ทรัพยากรทั้งหลายที่มีอยู่ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) ครอบคลุมถึง การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาด เหมาะสมและคุ้มค่า (Cost-effective) ส่วนการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right decision) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าบทบาทสำคัญของผู้บริหารคือการนำพาองค์การไปให้ถึง เป้าหมายและบรรลุผลสำเร็จได้โดยส่วนรวม เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์การ ผู้บริหารมีหน้าที่รวบรวมและจัดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลควบคู่กัน โดยใช้กระบวนการบริหารจัดการที่ดี
กระบวนการบริหารจัดการ เป็นกลไกและตัวประสานที่สำคัญที่สุดในการประมวล ผลักดัน และกำกับให้ปัจจัยต่างๆที่เป็นทรัพยากรการจัดการประเภทต่างๆ สามารถดำเนินไปได้โดยมีประสิทธิภาพ จนบรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ การเข้าใจถึงกระบวนการบริหารจัดการและการฝึกฝนให้มีทักษะสูงขึ้น จะช่วยให้การบริหารงานมีประสิทธิ ภาพมากขึ้นได้ กิจกรรมพื้นฐาน ๔ ระการที่ทำให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการ มีดังนี้
๑) การวางแผน (Planning) หมายถึงกระบวนการในการกำหนดเป้าหมาย แผนงาน และตัดสินใจหาวิธีการที่ดีที่สุดที่ทำให้เป้าหมายนั้นบรรลุผลสำเร็จ
๒) การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึงกระบวนการในการจัดตั้งและจัดวางทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรที่ไม่ใช่บุคคล โดยวางแผนให้สามารถบรรลุผลสำเร็จขององค์การ
๓) การนำและสั่งการ (Leading and Directing) หมายถึง กระบวนการของการมีอิทธิพล เหนือบุคคลอื่นในการที่จะให้บุคคลอื่นมีพฤติกรรมในการทำงานที่ต้องการ และทำให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
๔) การควบคุม (Controlling) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดกิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้เป็นไปตามมาตรฐาน และเป้าหมายที่องค์การคาดหวัง และกำหนดไว้
1. หลักการบริหาร (Management Principle) ได้วางหลักพื้นฐานทางการบริหารไว้ ๑๔ ประการ
2. การแบ่งงานกันทำ (Division of work) การแบ่งงานกันทาจะทาให้คนเกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง (Specialization) อันเป็นหลักการใช้ประโยชน์ของคนและกลุ่มคน ให้ทางานเกิดประโยชน์สูงสุด
3.อำนาจหน้าที่ (Authority) เป็นเครื่องมือที่จะทาให้ผู้บริหารมีสิทธิที่จะสั่งให้ผู้อื่นปฏิบัติงานที่ต้องการได้โดยจะมีความรับผิดชอบ (Responsibility) เกิดขึ้นตามมาด้วย ซึ่งจะมีความสมดุลย์ซึ่งกันและกัน
4. ความมีระเบียบวินัย (Discipline) บุคคลในองค์การจะต้องเคารพเชื่อฟัง และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ กติกาและข้อบังคับต่าง ๆ ที่องค์การกำหนดไว้ ความมีระเบียบวินัยจะมาจากความเป็นผู้นำที่ดี
5. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) ในการทางานใต้บังคับบัญชาควรได้รับคาสั่งจากผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียวเท่านั้น ไม่เช่นนั้นจะเกิดการโต้แย้งสับสน
เอกภาพในการสั่งการ (Unity of Direction) ควรอยู่ภายใต้การจัดการหรือการสั่งการโดยผู้บังคับบัญชาคนหนึ่งคนใด
ผลประโยชน์ขององค์การมาก่อนผลประโยชน์ส่วนบุคคล (Subordinatation ofindividual interest to the general interest)
1.คำนึงถึงผลประโยชน์ขององค์การเป็นอันดับแรกผลตอบแทนที่ได้รับ (Remuneration of Personnel) ต้องยุติธรรม และเกิดความพึงพอใจทั้งสองฝ่าย
2.การรวมอำนาจ (Centralization) ควรรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลางเพื่อให้สามารถควบคุมได้
สายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) การติดต่อสื่อสารควรเป็นไปตามสายงานความมีระเบียบเรียบร้อย (Order) ผู้บริหารต้องกำหนดลักษณะและขอบเขตของงานเพื่อประสิทธิภาพในการจัดระเบียบการทำงาน
3.ความเสมอภาค (Equity) ยุติธรรม และความเป็นกันเอง เพื่อให้เกิดความจงรักภักดี
ความมั่นคงในการทำงาน (Stability of Tenture of Personnel) การหมุนเวียนคนงานตลอดจนการเรียนรู้ และความมั่นคงในการจ้างงาน
4.ความคิดริเริ่ม (Initiative) เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น ให้แสดงออกถึงความคิดริเริ่ม
5.ความสามัคคี (Esprit de Corps) หลีกเลี่ยงการแบ่งพรรคแบ่งพวกในองค์การ
สามารถสรุปเป็นหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการจัดองค์กร เพื่อใช้เป็นแนวทางในศึกษาวิเคราะห์เทียบเคียงกับ พุทธวิธีการจัดองค์กรคณะสงฆ์ของพระพุทธเจ้าในสมัยพุทธกาลได้ ๕ ประการ คือ
๑. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective) หมายถึง การกำหนดเป้าหมายในการทำงานภายในองค์กร
๒. หลักการแบ่งงานกันทำ (Divide of work) หมายถึง การแบ่งแยกกิจกรรมภายใน
องค์กรออกเป็นลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้มีการทำงานร่วมกัน
๓. หลักการมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Delegation of Authorityand Responsibility) หมายถึง การกระจายอำนาจหน้าที่ไปยังส่วนต่าง ๆ ขององค์กรเพื่อให้เกิดการทำงานที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๔. หลักการจัดสายการบังคับบัญชาและช่วงของการบังคับบัญชา (Command and Span of control) หมายถึง ลำดับขั้นของสายงานที่มีการมอบอำนาจหน้าที่ไปยังส่วนต่าง ๆ ขององค์กรและขนาดการควบคุมของผู้บังคับบัญชาแต่ละคน
๕. หลักการประสานงาน (Coordination) หมายถึง การติดต่อสื่อสารในองค์กรอันจะก่อให้เกิดความเข้าใจในจุดมุ่งหมายและวิธีการดำเนินงานในองค์กร ซึ่งจะทำให้การทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
[1] หลักการบริหาร. (ออนไลน์) สืบค้นจาก: http://www.oknation.net /mediacenter.mcu.ac.th เข้าถึงได้เมื่อวันที่ 20 มกราคม ๒๕๕๖
[2]หลักการของการจัดการ.(ออนไลน์) สืบค้นจาก: www.management.su.ac.th/major/761316/manage.doc.เข้าถึงเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖
[2]หลักการของการจัดการ.(ออนไลน์) สืบค้นจาก: www.management.su.ac.th/major/761316/manage.doc.เข้าถึงเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๖
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/530706..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/530706
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น